เป้าหมาย (Understanding Goal)

เป้าหมายหลัก (Understanding Goal):นักเรียนเข้าใจ และตระหนักเห็นคุณค่าของวิถีพื้นถิ่น เคารพ ยอมรับความแตกต่างภายในชุมชน ตลอดจนสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข

Main



Mind Mapping (ครู)





หน่วย : วิถีบ้านเฮา

คำถามหลัก(
Big Question) : นักเรียนจะเข้าใจถึงวิถีพื้นถิ่นของชุมชน และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุขได้อย่างไร ?

ภูมิหลังของปัญหา : เมื่อความเจริญของเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาสู่หมู่บ้านที่เป็นชุมชนขนาดเล็ก ทำให้วิถีพื้นถิ่นความพอดี ความเรียบง่ายหายไป ผู้คนต่างเสียเวลาไปกับการดิ้นรนกระเสือกกระสนเพื่อหาเงินมาจับจ่ายใช้สอยให้ตัวเองมีทัดเทียมกับคนอื่น เพื่อให้เกิดความเท่าเทียมกันทางวัตถุสิ่งเหล่านี้ได้เปลี่ยนวิถีชีวิตคนในสังคมไทยไปโดยสิ้นเชิง ส่งผลกระทบต่อครอบครัว ชุมชน  วิถีการกิน การอยู่ รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นลดน้อยลงและเปลี่ยนแปลงไป  ดังนั้นความเข้าใจเกี่ยวกับหมู่บ้านหรือวิถีชุมชนที่ตนเองอาศัยอยู่จึงมีความจำเป็นต่อการเรียนรู้ เพื่อให้เด็กๆ เกิดความภาคภูมิใจในชุมชนท้องถิ่นที่ตนเองอาศัยอยู่  เห็นคุณค่าของทรัพยากรพื้นถิ่น สามารถอนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม อีกทั้งดำรงตนอยู่ในความพอดี มีชีวิตที่สมดุลและพึ่งตนเองได้


ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : วิถีบ้านเฮา  ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 (Quarter 1) ปีการศึกษา 2559




สาระการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด

วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
1.สร้างฉันทะ /สร้างแรงบันดาลใจ
- การปรับตัว
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ชื่อหน่วย
- สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ออกแบบและวางแผนปฏิทินการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 8.1
-ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษาตามความสนใจ (ว 8.1 ป./1)
- วางแผนการ ศึกษาค้นคว้า  สำรวจ ตรวจสอบ โดยใช้ความคิดของตนเอง ของกลุ่ม และผู้รู้
(ว 8.1ป.1/2)
- ใช้เครื่องมือ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการศึกษาค้นคว้า ตรวจสอบ รวบรวมข้อมูล บันทึก หรือสรุปผลการเรียนรู้อย่างเหมาะสม
(ว 8.1 .1/3)
- จัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบและนำเสนอผลการตรวจสอบ แสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มรวบรวม และสรุปความรู้ได้ 
(ว 8.1 ป.1/4-6)
- นำเสนอสิ่งที่ตนสนใจอยากเรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านการเล่าหรือการทำชิ้นงาน
(ว 8.1 ป.1/7)

มาตรฐาน ส 2.1
- เคารพ ให้เกียรติ เห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น ปฏิบัติตนตามข้อตกลงในห้องเรียนและเป็นสมาชิกที่ดีของห้อง เรียน
 (ส 2.1 . 1/1)
- อธิบายและปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะ สมในการดำรงชีวิตในสังคมที่หลาก หลายและแตกต่าง และสามารถอธิบายผลที่จะเกิดขึ้นจากการกระทำใดๆของตน
(ส 2.1 . 1/2)
- ยอมรับในความ คิด และความเชื่อของของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการเลือกและกำหนดสิ่งที่อยากเรียนรู้
 (ส 2.1 . 2/3)
- เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(ส 2.1 . 2/4)
มาตรฐาน ส 2.2
อธิบายความ
สัมพันธ์ของตนเองและสมาชิกในกลุ่มในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคม
(ส 2.2 . 1/1)
-                    - รู้จักและปฏิบัติตามบทบาท สิทธิ หน้าที่ของตนและเคารพสิทธิของผู้อื่น
-                    (ส 2.2 . 1/2)
-                    - มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและแสดงความคิดเห็นต่อการเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้หรือวางแผนการเรียนรู้
(ส 2.2 . 1/3)

มาตรฐาน พ  2.1
- รู้หน้าที่ของตนเองต่อสมาชิกในกลุ่มและเพื่อนร่วมชั้นในการเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
 (พ 2.1 . 1/1)
- ให้เกียรติและบอกความสำคัญของเพื่อนต่อการเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้หรือการทำกิจกรรมต่างๆร่วมกันได้
(พ 2.1 . 1/2)









มาตรฐาน ศ 1.1
- วาดภาพเพื่อถ่าย   ทอดความรู้สึกเกี่ยว กับสิ่งที่อยากเรียนรู้
(ศ 1.1 . 1/1)
- อธิบายเกี่ยวกับความรู้สึกของตนเองต่อสิ่งที่อยากเรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ศ 1.1 . 1/2)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างงานศิลปะโดยการใช้สีด้วยเทคนิคต่างๆ
(ศ 1.1 .1/3 - 4)
- จินตนาการสร้าง สรรค์ และออก แบบภาพประกอบกิจกรรมการเรียนรู้และวาดภาพ ประกอบผลงาน     (ศ 1.1.2/3)
-        สร้างสรรค์ผล งานวาดภาพสิ่งที่อยากเรียนรู้และนำ เสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ส 1.1 ป.3/6) 


มาตรฐาน ง  1.1
-          เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือในการทำ งานได้อย่างเหมาะ สมและปลอดภัย
(ง 1.1 . 1/2)
-           สามารถทำงานได้ด้วยตนเอง  แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น มีความละเอียดรอบ  คอบกระตือรือร้น  รับผิด ชอบและตรงต่อเวลา
(ง 1.1 . 1/2- 3)
มาตรฐาน ง 2.1
- มีความคิดสร้าง สรรค์สามารถนำสิ่งที่ได้ดูได้ฟัง และได้เห็นไปถ่ายทอดเป็นชิ้นงานภาพวาด รวมทั้งวางแผนล่วง หน้าในการเรียนได้
(ง 2.1 ป.2/4)

มาตรฐาน ส 4.1
- อธิบายความหมายและความสำคัญสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้           (ส 4.1 ป.4/1)
- สามารถศึกษาค้นคว้าสืบค้นความ สำคัญของสิ่งที่อยากเรียนรู้โดยใช้หลัก ฐานที่หลากหลาย              (ส 4.1 ป.5/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำ ถามเรื่องที่สนใจอยากเรียนรู้อย่างมีเหตุผล
 (ส 4.1 ป.5/2)

จุดเน้นที่ 1
- ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
- แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในครอบครัว
- เห็นความสำคัญของภาษาไทย
จุดเน้นที่ 2
- เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ                  ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์
- ปฏิบัติตนตามหลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ   พอเพียง
จุดเน้นที่ 3
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ                             ในห้องเรียน
- การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน
จุดเน้นที่ 4
- ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างของตนเองและผู้อื่น
- ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
2.บ้านเราอยู่ตรงไหน
- ชื่อ
- ที่ตั้งหมู่บ้าน/ชุมชน
- บุคคลสำคัญ
- สถานที่สำคัญ
-ครอบครัว
- บทบาทหน้าที่

มาตรฐาน ว 1.1
เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนหรือความแตกต่างของสิ่งที่พบในหมู่บ้านของตนเองและผู้อื่น
(ว 1.1 ป.1/1)
มาตรฐาน ว 1.2
อธิบายเกี่ยวกับลักษณะของสิ่งต่างๆทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตที่สังเกตพบในหมู่ บ้านแล้วนำมาจัดหมวดหมู่ตามความเข้าใจ
(ว 1.2 ป.1/1)
มาตรฐาน ว 6.1
สำรวจ ศึกษา สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางภูมิศาสตร์ของหมู่ บ้านตนเอง
(ว 6.1 ป.1/1)
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถาเกี่ยวกับข้อมูลของหมู่บ้านที่ตนอาศัยตามที่กำหนดให้หรือตามความสนใจ
(ว 8.1 ป.1/1)
-  วางแผน สังเกต สำรวจ ศึกษาค้นคว้าข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน ประวัติความเป็นมา ลักษณะของหมู่ บ้านสมัยเก่าและสมัยปัจจุบัน
(ว 8.1 ป.1/2)
- ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับหมู่บ้านได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
 (ว 8.1 ป.1/3)
- จัดกลุ่มข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้น คว้า สอบถาม สำรวจแล้วนำเสนอความเข้าใจให้ผู้อื่นทราบผ่านการเล่า บรรยาย อธิบายหรือการทำชิ้นงานเกี่ยวกับแนวคิดของงานหรือข้อมูลและแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์
(ว 8.1 ป.1/4 - 7)

มาตรฐาน ส 2.1
ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีชุมชนที่ตนอยู่อาศัยโดยการเคารพและให้เกียรติผู้อื่น (ส 2.1 . 1/1)
มาตรฐาน ส 2.2
-        อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างหน้าที่ของครอบครัว หมู่บ้านและชุมชนที่ตนอยู่อาศัย
(ส 2.2 . 1/1)
-รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อผู้อื่น สังคม รวมถึงเคารพสิทธิและหน้าที่ของผู้อื่นในการอยู่ร่วมกันในสังคม(ส 2.2 . 1/2)
-                    - มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและทำกิจกรรมต่างๆในห้องเรียนตามความสนใจและกระ บวนการประชาธิปไตย
(ส 2.2 . 1/3)
มาตรฐาน ส 5.1
-      สามารถแยกแยะ จำแนกและจัดหมวดหมู่ของสิ่งต่างๆรอบตัวทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นในหมู่บ้านของตนเอง
(ส 5.1 . 1/1)
-      สามารถระบุตำแหน่งระยะ ทางทิศและที่ ตั้งของสถานที่ต่างๆในหมู่บ้านให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ส 5.1 . 1/2-3)
-     สร้างแผนผังแบบจำลอง
หมู่บ้านจากวัสดุที่มีในท้องถิ่นเพื่อถ่ายทอดตำแหน่งของสถานที่ต่างๆในหมู่บ้านของตน
(ส 5.1 . 1/4)
มาตรฐาน ส 5.2
อธิบายเกี่ยวกับสิ่งๆต่างในหมู่บ้านที่มีผลต่อความเป็นอยู่หรือวิถีชีวิตของคนในชุมชนและมีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน
(ส 5.2 . 1/1-3)
มาตรฐาน พ  2.1
-      รู้จัก เข้าใจ เห็นคุณค่าของครอบ ครัวตนเองและปฏิบัติตนต่อครอบ ครัวด้วยความรัก ความผูกพัน
(พ 2.1 . 1/1)
-          รู้จักและเข้าใจตนเองสามารถ อธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ตนชื่นชอบและภาคภูมิใจ
(พ 2.1 . 1/2)
-          อธิบายลักษณะของผู้คนในหมู่บ้านเกี่ยวกับ เพศ อายุ
(พ 2.1 . 1/3)
มาตรฐาน พ.4.1
- บอกลักษณะการมีสุขภาพดีจากการทำงานบ้าน 
(พ 4.1  2/1)
- อธิบายอาการและวิธีการป้องกันการเจ็บป่วย การบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานบ้าน                (พ 4.1  2/4)
- ปฏิบัติตามคำแนะนำเมื่อมีอาการเจ็บป่วยและบาดเจ็บ
(พ 4.1  2/5)
มาตรฐาน พ.5.1
- ปฏิบัติตนในการป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานบ้าน
(พ 5.1  2/1)
มาตรฐาน ศ 1.1
-   บรรยายเกี่ยวกับ รูปร่าง รูปทรง ลักษณะ ขนาดของสิ่งต่างๆที่มีในหมู่บ้าน
(ศ 1.1 . 1/1)
-      อธิบายเกี่ยวกับ
ความรู้สึกของตนเองที่มีต่อสิ่งต่างๆในหมู่บ้าน
(ศ 1.1 . 1/2)
-   มีทักษะในการใช้
วัสดุอุปกรณ์ การทำงานเพื่อสร้าง สรรค์ชิ้นงานเกี่ยวกับหมู่บ้านของตน
  (ศ 1.1 . 1/3)
- สรรค์สร้างงานศิลปะโดยการวาดภาพ ระบายสีเพื่อถ่ายทอดความรู้สึกเกี่ยวกับหมู่บ้านของตนเอง
(ศ 1.1 . 1/4-5)

มาตรฐาน ง 2.1
-     สามารถวางแผนและลงมือทำงานอย่างเป็นลำดับขั้น ตอนเพื่อให้งานบรรลุตามเป้า หมาย
(ง 1.1 . 1/1)
-       เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือในการทำงานได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
(ง 1.1 . 1/2)
-     รู้วิธีการทำงานให้
สำเร็จอย่างมีคุณภาพด้วยความกระตือรือร้น เอาใจใส่เพื่อให้ทันเวลาที่กำหนด
(ง 1.1 . 1/3)
มาตรฐาน ง 3.1
- อธิบายสิ่งที่พบในหมู่บ้าน ประวัติความเป็นมา ลักษณะของหมู่บ้านสมัยก่อนและสมัยปัจจุบัน แผนที่จากบ้านมาโรงเรียน แผนผังและแบบจำลองหมู่บ้านให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านการเล่า บรรยาย หรือถ่ายทอดลงชิ้นงาน
(ง 3.1 . 1/1)
-เข้าใจและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆที่น่าเชื่อถือ รวมทั้งรู้จักการสืบค้นจากแหล่ง ข้อมูลที่หลากหลาย
(ง 3.1 ป.2/1)
-สามารถค้นหาข้อมูลอย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆได้                 (ง 3.1 ป.3/1)

มาตรฐาน ส 4.1
-       อธิบายเกี่ยวกับวัน เดือน ปีและช่วงเวลาต่างๆตามปฏิทินในการศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับหมู่บ้าน และช่วงเวลาของหมู่บ้านสมัยก่อนและสมัยปัจจุบัน
(ส 4.1 ป.1/1)
-       สามารถเรียงลำดับเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในหมู่บ้านได้
(ส 4.1 ป.1/2)
-สามารถสืบค้นประวัติความเป็นมาของตนเองและครอบครัวและชุมชนที่ตนอาศัยอยู่โดยการสอบถามผู้เกี่ยวข้อง
(ส 4.1 ป.1/3)
มาตรฐาน ส 4.2
- อธิบายเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมของหมู่บ้านหรือการดำเนินชีวิตของตนเองกับสมัยของพ่อแม่ ปู่ย่า ตายายได้ (ส 4.2 1/1)
- อธิบายผลกระทบของการเปลี่ยน  แปลงของสภาพ แวดล้อมที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตของคนในหมู่บ้าน          
 (ส4.2 1/2)            
มาตรฐาน ส 4.3
- อธิบายความ หมายของสิ่งต่างๆในหมู่บ้าน
(ส 4.3 1/1)      
อธิบายเกี่ยวกับตำแหน่งของสถานที่ที่สำคัญเช่น โรงเรียน วัดในหมู่บ้านของตนเองได้ (ส 4.3 1/2)    
-ระบุเกี่ยวกับสิ่งที่ตนภาคภูมิในในหมู่บ้านของตนเองได้  (ส 4.3 1/2)          
จุดเน้นที่ 1
- ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
- แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในครอบครัว
- เห็นความสำคัญของภาษาไทย
จุดเน้นที่ 2
- เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ                  ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์
- ปฏิบัติตนตามหลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ   พอเพียง
จุดเน้นที่ 3
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ                             ในห้องเรียน
- การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน
จุดเน้นที่ 4
- ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างของตนเองและผู้อื่น
- ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
3.วิถีและการดำเนินชีวิต
- วัฒนธรรมการแต่งกาย
- ภาษา
- ประเพณี
- อาชีพ

มาตรฐาน ว 1.1
อธิบายได้ว่า น้ำ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค เป็นปัจจัยการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของคนและสามารถนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปประ ยุกต์ใช้กับตนเองได้
(ว 1.1 ป.2/1-2)
มาตรฐาน ว 8.1
-        ตั้งคำถามเกี่ยวกับการดำรงชีวิต ประเพณีต่างๆและศิลปะของคนในหมู่บ้านตามที่กำหนดหรือสนใจ
(ว 8.1 ป.1/1)
-          วางแผน สังเกต สำรวจ ศึกษาค้นคว้า สอบถามเกี่ยวกับการดำรง ชีวิตและประเพณีและศิลปะพื้นบ้านของคนในชุมชน
(ว 8.1 ป.1/1)
-   จัดกลุ่มข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า สังเกต สำรวจแล้วนำเสนอผ่านภาพวาด
ข้อ ความ บอกเล่า บรรยายหรือแสดงความคิดเห็นให้ผู้อื่นเข้าใจ
 (ว 8.1 ป.1/4-7)

มาตรฐาน ส 2.1
-   ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่
ดีของครอบครัว โรงเรียน และชุมชนที่ตนอยู่อาศัยโดยการเคารพและให้เกียรติผู้อื่น                    (ส 2.1 . 1/1)
-            ยอมรับฟังความคิดเห็น ความเชื่อของผู้อื่นที่แตกต่างจากตนโดยปราศจากอคติ
(ส 2.1 . 1/2)
มาตรฐาน ส 2.2
-           บอกโครงสร้าง
บทบาทและหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคม
(ส 2.2 . 1/1)
-         เข้าใจและปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของตนในครอบครัว โรงเรียนหรือชุมชนที่ตนอาศัยอยู่
(ส 2.2 . 1/2)
-มีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจในการทำกิจกรรมหรือร่วมงานประเพณีต่างๆในชุมชน
(ส 2.2 . 1/3)
มาตรฐาน ส 3.2
-เข้าใจและเห็นคุณค่าของการทำงานหรือการประกอบอาชีพคนในหมู่บ้านของตน(ส 3.2 . 1/3)
มาตรฐาน ส 5.2
-  อธิบายเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต ความเป็นอยู่หรือประเพณีต่างๆของคนในหมู่บ้าน
(ส 5.2 . 1/1)
-  สังเกต อธิบายและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของภาพแวดล้อมรอบตัวในหมู่บ้านที่ตนอยู่อาศัย
(ส 5.2 . 1/2)
-  มีส่วนในร่วมในงานประเพณีต่างๆในหมู่บ้าน
(ส 5.2 . 1/3)
มาตรฐาน พ.2.1
-      เข้าใจ เห็นคุณค่า
และปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว โรงเรียนและชุมชน
(พ 2.1  .1/1)
-อธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ตนชื่นชอบและภาคภูมิใจ
(พ 2.1  .1/2)
-          อธิบายเกี่ยวกับลักษณะ ความแตกต่างและความเหมือนของเพศและวัยของคนในหมู่บ้าน
(พ 2.1  .1/3)
มาตรฐาน พ.4.1
- บอกลักษณะการมีสุขภาพดีจากการร่วม งานประเพณีบุญต่างๆ
 (พ 4.1  .2/1)
- อธิบายอาการและวิธีการป้องกันการเจ็บป่วย การบาด เจ็บที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงาน
(พ 4.1  .2/4)
- ปฏิบัติตามคำแนะนำเมื่อมีอาการเจ็บป่วยและบาดเจ็บ
(พ 4.1  .1/3)
มาตรฐาน พ.5.1
- ปฏิบัติตนในการป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงาน
(พ 5.1  .2/1)



มาตรฐาน ศ 1.1
-         อธิบายและ
ถ่ายทอดความรู้สึกเกี่ยวกับลักษณะของการดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่นผ่านภาพวาด
(ศ 1.1  .1/1-2)
-         มีทักษะในการใช้
วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือเพื่อสร้างสรรค์ชิ้นงานถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับวิถีชีวิตและประเพณีต่างๆในท้องถิ่นที่ตอนอยู่อาศัย
 (ศ 1.1  .1/3)
- วาดภาพระบายสีเพื่อถ่ายทอดความ รู้สึกเกี่ยวกับบทกลอนงานประเพณี
(ศ 1.1  .1/5)



มาตรฐาน ง 1.1
-     อธิบายขั้นตอนการ
ทำงานให้สำเร็จ ประณีตสวยงามและทันตามเวลาที่กำหนด
(ง 1.1 ป.1/1)
-เลือกใช้วัสดุ
อุปกรณ์ในการทำ งานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย
(ง 1.1 ป.1/2)
-     ทำงานด้วยตนเอง
หรือร่วมกับผู้อื่นด้วยความกระตือรือร้น เอาใจใส่ อดทน รับผิดชอบเพื่อให้งานสำเร็จทันตามเวลาที่กำหนด
(ง 1.1 ป.1/2)

มาตรฐาน ส 4.1
-         อธิบายวัน เดือน ปีตามปฏิทินเพื่อบอกช่วงเวลาของประเพณีต่างๆ
(ส 4.1 1/1)   
-         เรียงลำดับช่วงเวลาของประเพณีต่างๆในหมู่บ้าน
 (ส 4.1 1/2)      
-  บอกประวัติความ
เป็นมาและความ สำคัญของประเพณีต่างๆโดยการสอบ ถามผู้รู้
(ส 4.1 1/3)      
มาตรฐาน ง 3.1
 -อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของประเพณีและศิลปะพื้นบ้านของคนอีสาน
(ง 3.1 ป.1/1)
มาตรฐาน ส 4.2
-  อธิบายลักษณะของการดำเนินชีวิตหรือประเพณีต่างๆในสมัยตนเองและสมัยพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย
(ส 4.1 1/1)   
-  อธิบายเกี่ยวกับ
เหตุการณ์ในอดีตที่มีผลต่อวิถีชีวิตหรือประเพณีต่างๆในชุมชน
 (ส 4.2 1/2)   
มาตรฐาน ส 4.3
อธิบายความหมายและความสำคัญของประเพณีของคนในท้องถิ่นและสามารถปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม
(ส 4.3 1/1)   
-  สามารถอธิบายเกี่ยวกับสถานที่ที่สำคัญในหมู่บ้านเช่น บ้าน วัด โรงเรียน     
(ส 4.3 1/1)   
-   มีความภาคภูมิใจ
ในท้องถิ่นที่ตนออยู่อาศัยและมีส่วนในการอนุรักษ์ศิลปะ วัฒนธรรม
(ส 4.3 1/1)   
จุดเน้นที่ 1
- ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
- แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในครอบครัว
- เห็นความสำคัญของภาษาไทย
จุดเน้นที่ 2
- เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ                  ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์
- ปฏิบัติตนตามหลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ   พอเพียง
จุดเน้นที่ 3
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ                             ในห้องเรียน
- การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน
จุดเน้นที่ 4
- ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างของตนเองและผู้อื่น
- ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
4.อาหารตามฤดูกาล
- อาหารพื้นถิ่น
-ทรัพยากรธรรมชาติ
5.ภูมิปัญญาท้องถิ่น
6.การประกอบการ
สร้างผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น
(ของกิน ของใช้จากวัสดุพื้นถิ่น)
7.ความสัมพันธ์
- ครอบครัวในชุมชน
- ระหว่างชุมชนรอบข้าง

มาตรฐาน ว 1.2
ระบุลักษณะของทรัพยากรในหมู่บ้านและนำมาจำแนกจัดหมวดหมู่
(ว 1.2 ป.1/1)
มาตรฐาน ว 3.1
- สังเกต ระบุและอธิบายลักษณะของทรัพยากรหรือวัสดุที่มีในหมู่บ้านที่นำมาใช้ในการประดิษฐ์สิ่งของ
(ว 3.1 ป.1/1)
- จำแนกทรัพยากรหรือวัสดุที่นำมาใช้ในการประดิษฐ์สิ่งของเครื่องใช้
(ว 3.1 ป.1/2)
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับทรัพยากรหรือวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ
ในการทำน้ำยาล้างจานหรือการประดิษฐ์ของเล่นของใช้จากวัสดุที่มีในหมู่บ้าน
(ว 8.1 ป.1/1)
-วางแผนอย่างเป็นขั้นตอนในการทำน้ำยาล้างจานและการประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุที่มีในหมู่บ้าน
(ว 8.1 ป.1/2)
- ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำงานอย่างถูกต้องเหมาะสมและปลอดภัย
(ว 8.1 ป.1/3)
- จัดกลุ่มข้อมูลของวัสดุอุปกรณ์ ขั้นตอนในการทำน้ำยาล้างจานและการประดิษฐ์
สิ่งของจากวัสดุที่มีในหมู่บ้าน
(ว 8.1 ป.1/4)
- บันทึกสิ่งที่ตนได้เรียนรู้จากการทำน้ำยาล้างจานและการประดิษฐ์สิ่งของแล้วนำเสนอข้อมูลให้ผู้อื่นทราบผ่านการวาดภาพ บรรยายและร่วมกันแสดงความคิดเห็น แสดงความรู้สึกต่อกิจกรรมที่ได้ทำ
(ว 8.1 ป.1/4-6)
-ถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ในการทำน้ำยาล้างจาน หรือการประดิษฐ์สิ่งของให้ผู้อื่นทราบด้วยวาจา (ว 8.1 ป.1/7)
มาตรฐาน ส 2.1
-  ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว โรงเรียนและชุมชน โดยรู้จักบทบาทหน้าที่ของตนและเคารพสิทธิของผู้อื่น
(ส 2.1 . 1/1)
-  เข้าใจ เห็นค่าตนเองและสามารถอธิบายผลที่จะเกิดขึ้นจากการกระทำใดๆของตนเองและผู้อื่น
(ส 2.1 . 1/2)
มาตรฐาน ส 2.2
-รู้จักบทบาท สิทธิ
หน้าที่ของตนต่อสมาชิกในกลุ่มในฐานะที่เป็นสมาชิกส่วนหนึ่งของสังคม (ส 2.1 . 1/1-2)
-  มีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจในการเตรียมวัสดุ อุปกรณ์และลงมือทำน้ำยาล้างจานจากมะกรูดและขี้เถ้า
(ส 2.1 . 1/3)
มาตรฐาน ส 3.1
- อธิบายการอนุรักษ์หรือใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและนำไปใช้ในชีวิตจริง (ส 3.1 . 1/2)
-  อธิบายเกี่ยวกับการ
ใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างคุ้มค่าและสร้างสรรค์
(ส 3.1 . 1/3)
มาตรฐาน ส 5.1
แยกแยะทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น
(ส 5.1 . 1/1)
มาตรฐาน ส 5.2
-  อธิบายทรัพยากรที่มีในหมู่บ้านที่มีผลต่อความเป็นอยู่ของคนในชุมชน
 (ส 5.2 . 1/1)
-สังเกตและเปรียบเทียบ
การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรในหมู่บ้านของตนเองและผู้อื่น
(ส 5.2 . 1/2)
-  มีส่วนร่วมในการ
จัดสรรทรัพยากรในชุมชนของตน
(ส 5.2 . 1/3)


มาตรฐาน พ.2.1
- เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง และผู้อื่นที่อยู่ร่วมกันในสังคม
(พ 2.1 . 1/1)
มาตรฐาน พ.2.1
-           ระบุสิ่งที่อาจทำให้เกิดอันตรายจากการทำงาน
(พ 2.1 . 1/1)
-อธิบายสาเหตุและการป้องกันอันตรายจากการทำงาน
(พ 2.1 . 1/2)
-      สามารถพูดบอกหรือแสดงท่าทางขอความช่วยเหลือจากผู้อื่นหากเกิดอันตรายจากการทำงาน
(พ 2.1 . 1/3)
มาตรฐาน ศ 1.1
-อธิบายความเข้าใจ
เกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ในการทำผลิตภัณฑ์และการประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุในหมู่บ้านผ่านงานศิลปะ
(ศ 1.1 . 1/1)
-        มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างงานเพื่อถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับการทำน้ำยาล้างจานและการประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุที่มีในหมู่บ้าน
(ศ 1.1 . 1/2)
-วาดภาพเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรในท้องถิ่น
(ศ 1.1 . 2/6)
มาตรฐาน ง 1.1
-       ทำงานอย่างมีเป้าหมาย เป็นขั้นตอน เพื่อให้สำเร็จลุล่วงทันตามเวลาที่กำหนด
(ง 1.1 ป.1/1)
-เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่อง มือในการทำงานได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
(ง 1.1 ป.1/2)
-       ทำงานด้วยความกระตือรือร้น เอาใจใส่ อดทนเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
(ง 1.1 ป.1/3)
มาตรฐาน ง 3.1
อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับการทำน้ำยาล้างจานและการประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุที่มีในท้องถิ่น
(ง 3.1 ป.1/1)

มาตรฐาน ส 4.1
-  อธิบายเกี่ยวกับวัน
เดือน ปีตามปฏิทินในการคำนวณระยะเวลาการทำผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นได้
(ส 4.1 1/1
-      เรียงลำดับเหตุการณ์ในการผลิตภัณฑ์และการประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุในท้องถิ่น  (ส 4.1 1/2
มาตรฐาน ส 4.2
-  อธิบายความเปลี่ยน แปลงของสภาพ แวดล้อมที่มีผลต่อทรัพยากรในท้องถิ่น
(ส 4.2 1/1
-                    อธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตที่มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและทรัพยากรในปัจจุบัน
(ส 4.2 1/2
มาตรฐาน ส 4.3
-       อธิบายความ หมายและความ สำคัญของทรัพยากรในท้องถิ่น
(ส 4.3 1/2)
มีความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าของทรัพยากรในท้องถิ่นของตน
(ส 4.3 1/2)

จุดเน้นที่ 1
- ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
- แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในครอบครัว
- เห็นความสำคัญของภาษาไทย
จุดเน้นที่ 2
- เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ                  ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์
- ปฏิบัติตนตามหลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ   พอเพียง
จุดเน้นที่ 3
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ                             ในห้องเรียน
- การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน
จุดเน้นที่ 4
- ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างของตนเองและผู้อื่น
- ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง





ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ PBL (Problem  Based  Learning)

หน่วย : วิถีบ้านเฮา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ (Quarter 1)  ปีการศึกษา  2559

Week
Input
Process
Output
Outcome

1
16-20 พ.ค.
59
โจทย์ :
สร้างฉันทะ /สร้างแรงบันดาลใจ
- การปรับตัว
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ชื่อหน่วย

คำถาม
- ทำไมจึงได้มาพบเจอกันที่โรงเรียน ? มาอยู่ร่วมกันเพื่อทำอะไร ?
- นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้ ?                  

เครื่องมือคิด
       
-
 Round Robin 
- Card and Chart 
- Blackboard Share
- Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บริเวณรอบโรงเรียน
- คลิปวีดีโอ “หนูนากับหนูเมือง”
- การปรับตัว/เรียนรู้วิถีของพี่ป.และแนะนำเพื่อนใหม่ 3 คน
- เรียนรู้การอยู่ร่วมกันกับพี่ชั้นอื่นๆ ที่อยู่ในตึกประถมและสถานที่ภายในอาคาร  เช่น  ห้องเรียน ห้องน้ำ  ห้องสำนักงานครู  มุมต่างๆ ภายในอาคารเรียน ฯลฯ
- ครูและนักเรียนสร้างข้อตกลงร่วมกันในห้องเรียน
- เดินสำรวจรอบบริเวณโรงเรียน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “สังเกตเห็นอะไรทีเปลี่ยนแปลงไปบ้าง  รู้สึกอย่างไร  เมื่อก่อนเป็นอย่างไร ทำไมถึงเปลี่ยนไป?
- ครูให้นักเรียนดูคลิปวีดีโอ “หนูนากับหนูเมือง”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร  รู้สึกอย่างไร  แล้วหมู่บ้านหรือชุมชนที่เห็นเหมือนหรือต่างจากหมู่บ้านของเราอย่างไร?
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้ ?"       
- นักเรียนวาดภาพหรือเขียนสิ่งที่อยากเรียนรู้ พร้อมเหตุผลที่อยากเรียนรู้
- ครูและนักเรียนร่วมกันจัดหมวดหมู่เรื่องที่อยากเรียนรู้
- นำเสนอเรื่องที่อยากเรียนรู้
- นักเรียนร่วมกันตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้  นักเรียนจะตั้งชื่อหน่วยให้น่า สนใจ และอยากเรียนรู้อย่างไร?
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการวิถีในห้องเรียนและการอยู่ร่วมกัน
- พูดคุย ถาม-ตอบเกี่ยวกับคลิปวีดีโอที่ได้ดู
- การสร้างข้อตกลงของห้องเรียนร่วมกัน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้และชื่อหน่วย
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์

 ชิ้นงาน
- วาดภาพสิ่งที่อยากเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถปรับตัวในการเรียนรู้ใหม่  เพื่อนใหม่  สามารถพูดอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างสมเหตุสมผล
ทักษะ
 :
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
-
 ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น

คุณลักษณะ
:
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน


2

23 -27 พ.ค.59
โจทย์ : 
สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้

คำถาม
นักเรียนรู้อะไรบ้างและอยากเรียนรู้อะไรเกี่ยวกับหน่วย “วิถีบ้านเฮา ” ?

เครื่องมือคิด
-
 Brainstorms 
- Think Pair Share
-  Wall Thinking 
- Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- พนักงานโรงเรียน (คุณป้า คุณลุง)

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บทสัมภาษณ์
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “บ้านเกิดแต่ละคนอยู่ที่ไหน ? ทำไมต้องมาอยู่ที่นี้ ?
- นักเรียนเล่าเกี่ยวกับหมู่บ้านของตนเอง
/เล่าเกี่ยวกับ น้อง เพื่อน พี่ ในโรงเรียนที่มาจากหมู่บ้านเดียวกัน
- นักเรียนสัมภาษณ์คุณครู คุณป้า คุณลุง พนักงานในโรงเรียนเกี่ยวกับบ้านเกิด ชุมชนที่มา
 - นักเรียนตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- เขียนและวาดภาพสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วสิ่งที่อยากเรียนรู้
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์

ชิ้นงาน
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วสิ่งที่อยากเรียนรู้
- วาดภาพ Mind Mapping ก่อนเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ 
เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้สามารถตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองรู้ /อยากเรียนรู้ ได้อย่างน่าสนใจ

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
:
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน


3
30 พ.ค. –
3 มิ.ย.59

โจทย์ :
ออกแบบและวางแผนปฏิทินการเรียนรู้

คำถาม
นักเรียนจะออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ใน Quarter นี้อย่างไร ?

เครื่องมือคิด
-  Brainstorms
- Blackboard Share
- Think Pair Share
- Show and Share
-  Wall Thinking

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
บรรยากาศภายในชั้นเรียน




- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูและนักเรียนร่วมกันออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ใน Q.1/59
- นำเสนอปฏิทินการเรียนรู้ตลอด 10 สัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการวางแผนปฏิทินการเรียนรู้
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์


ชิ้นงาน
- ปฏิทินการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
สามารถออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ของตนเองร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีขั้นตอน และสร้างสรรค์

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน


4
6-10 มิ..
59
โจทย์ : 
 บ้านเราอยู่ตรงไหน

คำถาม
- หมู่บ้านของนักเรียนมีชื่อว่าอย่างไร  ทำไมถึงตั้งชื่อนี้ ?
- นักเรียนคิดว่าหมู่บ้านของตนเองกับเพื่อนเหมือนหรือต่างกันอย่างไร?
- หมู่บ้านของเราเกิดขึ้นมาได้อย่างไร?

เครื่องมือคิด
-
 Brainstorms 
- Round Robin
- Show and Share
-  Wall Thinking 

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ข้อมูล Google Maps (Earth)
- ทีวี
- ครูเปิด Google Maps (Earth) และให้นักเรียนดูและช่วยกันบอกชื่อหมู่บ้าน จังหวัดที่ตนเองอยู่
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “หมู่บ้านของนักเรียนชื่ออะไร ทำไมถึงตั้งชื่อนี้ ? จากบ้านมาโรงเรียนเป็นระยะทางเท่าไหร่ เดินทางมาอย่างไร ใครมาส่ง ?
- นักเรียนศึกษาข้อมูล จากการสอบถามผู้ปกครอง ผู้รู้ในหมู่บ้านตนเองเช่น จำนวนครอบครัว อาชีพ สถานที่ในชุมชน  ฯลฯ
 - นักเรียนแบ่งกลุ่มตามหมู่บ้านที่ตนเองอาศัยร่วมกันพูดคุยถึง ที่มาของชื่อหมู่บ้าน เรื่องราวเกี่ยวกับหมู่บ้าน  จุดเด่นหรือสัญลักษณ์ที่บ่งบอกว่าเป็นหมู่บ้านของตนเองที่สามารถจดจำได้ง่าย
- แต่ละกลุ่มนำเสนอหมู่บ้านของกลุ่มตนเอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับหมู่บ้านที่ตนเองอยู่ เช่น จำนวนครอบครัว อาชีพ สถานที่ในชุมชน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชื่อหมู่บ้านของตนเองร่วมกัน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ภาพการ์ตูนช่องหมู่บ้านเรา
- วาดภาพแผนที่บ้านของตนเอง
-ประดิษฐ์บ้านจากวัสดุต่างๆ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอธิบายที่ตั้งของหมู่บ้าน ร่วมทั้งสามารถ รวมทั้งความเป็นมาของหมู่บ้านตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจได้

ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ
:
- เคารพ สิทธิ  หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน

5
13-17..
59
โจทย์ : 
วิถีและการดำเนินชีวิต

คำถาม
นักเรียนคิดว่าแต่ละหมู่บ้านมีการดำเนินชีวิตที่เหมือนหรือต่างกันอย่างไร?

เครื่องมือคิด
-
 Brainstorms 
- Key Question
- Think Pair Share
- Show and Share
-  Wall Thinking 

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน

สื่อ / แหล่งเรียนรู้

- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวีดีโอ “รวมเพลงอีสานบ้านเฮา”


- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเตรียมฉลาก (วิถีการกิน วิถีการทำนา/ไร่ การหาปลา การเลี้ยงสัตว์ การปลูกพืชผัก ฯลฯ) เตรียมละครสื่อถึงวิถีและการดำเนินชีวิต
- ครูให้นักเรียนดูคลิปวีดีโอ “รวมเพลงอีสานบ้านเฮา”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร รู้สึกอย่างไร อะไรที่เห็นเหมือนกับในหมู่บ้านเรามีบ้าง แล้วคิดว่าทำไมถึงเหมือนหรือต่างกันอย่างไร? ในบทเพลงสื่อสารอะไรกับเรา เข้าใจว่าอย่างไร?
- แบ่งกลุ่ม 5 กลุ่มเตรียมละครสื่อถึงวิถีและการดำเนินชีวิต
- นำเสนอละครของแต่ละกลุ่ม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ภาระงาน
- สอบถามข้อมูลจากผู้ปกครอง ผู้รู้ในหมู่บ้านของตนเองเกี่ยวกับวิถีและการดำเนินชีวิตของคนในหมู่บ้านที่ตนเองอาศัยอยู่  
- เตรียมนำเสนอละครวิถีและการดำเนินชีวิต
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์

ชิ้นงาน
- นิทานช่องวิถีชีวิต
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
เข้าใจวิถีและการดำเนินชีวิตของคนในหมู่บ้าน ชุมชนที่ตนเองอยู่ เคารพและยอมรับในความแตกต่างของคนในหมู่บ้านได้

ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
:
- เคารพ สิทธิ  หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน

6
20-24มิ..
59
โจทย์ : 
ของกินตามฤดูกาล

คำถาม
- นักเรียนมีวิธีเลือกกินอาหาร ที่ทำให้มีสุขภาพดีได้อย่างไร?
- นักเรียนคิดว่าอาหารพื้นถิ่นของแต่ละหมู่บ้าน เหมือนหรือต่างกันอย่างไร?

เครื่องมือคิด
-
 Brainstorms 
- Blackboard  Share
- Flow Chart
- Mind Mapping
- Show and Share
-  Wall Thinking 

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บริเวณพื้นที่รอบโรงเรียน
- คลิปวีดีโอ “หลังคาอีสาน”
- วัตถุดิบ/อุปกรณ์ในการทำอาหาร
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนเดินสำรวจรอบบริเวณโรงเรียน เพื่อดูเกี่ยวกับพืชผักผลไม้ สัตว์ต่างๆ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนสังเกตเห็นพืชผักชนิดใดบ้าง ในหมู่บ้านของเรามีผักอะไรบ้าง  สามารถนำไปทำอะไรได้บ้าง?
- ครูเปิดคลิปวีดีโอ “หลังคาอีสาน” ให้นักเรียนได้ดู
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “สิ่งที่เราสังเกตเห็น ที่หมู่บ้านของเราเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ทำไมฤดูนี้ถึงมีไข่มดแดง ผักหวาน เห็ดฯลฯ ?
- แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่ม จับฉลากเลือกวัตถุดิบในการประกอบอาหารพื้นถิ่น เช่น ไข่มดแดง ผักหวาน เห็ด จิ้งหรีด หอย ฯลฯ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มจัดเตรียมอุปกรณ์สำหรับประกอบเมนูอาหารของกลุ่ม
- แต่ละกลุ่มร่วมกันประกอบอาหารและนำเสนอกระบวนการ ขั้นตอนการทำอาหาร
- เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์






ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอ/จากการเดินสำรวจ
- จัดเตรียมวัตถุดิบ/อุปกรณ์ในการทำอาหาร
 - พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอาหารที่ทำร่วมกัน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์

ชิ้นงาน
- ประกอบอาหาร
- วาดภาพและเขียนขั้นตอนการทำอาหาร
- ฤดูกาลกับอาหาร
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับแนะนำของกินตามฤดูกาลที่มีในพื้นถิ่นและสามารถนำมาทำอาหารง่ายๆ ได้

ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
:
- เคารพ สิทธิ  หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน

7
27มิ..
-
1 ก.ค.
59
โจทย์ : 
ชีวิต งานและภูมิปัญญา

คำถาม
- ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตประจำวันของเราอย่างไร?
- เราจะสืบสานและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร?

เครื่องมือคิด
-
 Brainstorms 
- Blackboard  Share
- Key Question
- Show and Share
-  Wall Thinking 

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
- คุณครูอ้น/คุณครูนฤมล
สื่อ / แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บ้านคุณครูอ้น
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- นักเรียนได้เล่าถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นของตนเองจาการไปสอบถามข้อมูลจากผู้รู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าภูมิปัญญาท้องถิ่นคืออะไร เป็นอย่างไร เราจะสืบสานและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร?
- ครูและนักเรียนไปทัศนศึกษาบ้านครูอ้น (บ้านบุตาวงษ์)เพื่อเรียนรู้ ชีวิต งานและภูมิปัญญา การเคารพธรรมชาติ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการไปทัศนศึกษา เราจะนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่เราได้เรียนรู้อย่างไร?
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการไปทัศนศึกษา
- พูดคุยเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นของหมู่บ้านตนเอง

ชิ้นงาน
- บันทึกเล่มเล็ก
- ประดิษฐ์พวงกุญแจ โมบาย จากวัสดุธรรมชาติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
เข้าใจและอธิบายเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ของตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ
:
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
:
- เคารพ สิทธิ  หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน


8
4-8 ก.ค.
59
โจทย์ : 
การประกอบการ
สร้างผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น
(ของกิน ของใช้จากวัสดุพื้นถิ่น)

คำถาม
เราจะนำวัสดุพื้นถิ่นมาสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ได้อย่างไร?

เครื่องมือคิด
-
 Brainstorms 
- Blackboard  Share
- Flow Chart
- Show and Share
-  Wall Thinking 

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- นักเรียนได้เล่าเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นพร้อมกับนำตัวอย่างมาให้เพื่อน ครูได้สังเกตและฟัง
- นักเรียนแต่ละคนตั้งคำถามสิ่งที่อยากรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เพื่อนนำเสนอ
- แบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม ร่วมกันออกแบบผลิตภัณฑ์หมู่บ้านของตนเอง
- นำเสนอผลิตภัณฑ์ของแต่ละกลุ่ม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุพื้นถิ่นของ
- จัดเตรียมอุปกรณ์ในการสร้างผลิตภัณฑ์
-พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์

ชิ้นงาน
- ตัวผลิตภัณฑ์
- วาดภาพและเขียนกระบวนการขั้นตอนการสร้างผลิตภัณฑ์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุพื้นถิ่นของตนเองได้

ทักษะ:
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
:
- เคารพ สิทธิ  หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน


9
11- 15ก.ค.
59
โจทย์
ความสัมพันธ์
- ครอบครัวในชุมชน
- ระหว่างชุมชนรอบข้าง

คำถาม
- จะเกิดอะไรขึ้นถ้าคนในชุมชนที่อาศัยอยู่ไม่มีปฏิสัมพันธ์กัน
?
- เราจะอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นอย่างมีความสุขได้อย่างไร?

เครื่องมือคิด
-  Brainstorms 
- Round Robin 
- Blackboard  Share
- Key Question
- Show and Share
-  Wall Thinking 

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน

สื่อ/แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ข่าว
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเล่าข่าวเหตุการณ์จริงเกี่ยวกับชุมชน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “จะเกิดอะไรขึ้นถ้าคนในชุมชนที่อาศัยอยู่ไม่มีปฏิสัมพันธ์กัน
- แบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม จับฉลากจำลองเหตุการณ์ /สถานการณ์ในปัจจุบัน
- แต่ละกลุ่มนำเสนอสถานการณ์ ที่ได้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นี้ขึ้น เราจะมีวิธีป้องกันอย่างไร? ? เราจะอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นอย่างมีความสุขได้อย่างไร?
- สรุปความเข้าใจรายสัปดาห์
                                                      
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ฟังและสิ่งที่ได้ทำ
- เตรียมนำเสนองานกลุ่มที่จับฉลากได้
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์

ชิ้นงาน
- นิทานชุมชนอมยิ้ม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจ เคารพสิทธิและยอมรับความแตกต่างของคนในชุมชนที่ตนอยู่ได้

ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
:
- เคารพ สิทธิ  หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน

10
18-22 ก.ค.
59

โจทย์ :
ชุมชนมุมมองใหม่

คำถาม
นักเรียนคิดว่าอีก 5 ปี หมู่บ้าน /ชุมชนของเราจะเป็นอย่างไร?

เครื่องมือคิด  
-  Round Robin 
 - Show and Share  
 - Wall Thinking

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่า
อีก 5 ปี หมู่บ้าน /ชุมชนของเราจะเป็นอย่างไร?
ชุมชนในอนาคตตามมุมมองของตนเอง
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน :
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชุมชนมุมมองใหม่
ชิ้นงาน :
- วาดภาพชุมชนมุมมองใหม่
 - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
เข้าใจและยอมรับกับสิ่งที่เป็นอยู่ในหมู่บ้าน /ชุมชนที่ตนอาศัยอยู่ สามารถปรับตัวในการใช้ชีวิต ประจำวันได้อย่างมีความ สุข  
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
 ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
 ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ  หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่

11
25-29ก.ค.
59
โจทย์ :
สรุปองค์ความรู้
- นิทรรศการ
- ละคร

คำถาม
  นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้?
- นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร?
- นักเรียนทำ สิ่งใดได้ดี และสิ่งที่อยากพัฒนาต่อ เพราะเหตุใด?

เครื่องมือคิด  
- Brainstorms
-  Round Robin
- Show and Share
- Mind Mapping
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ ตลอด Quarter ที่ผ่านมา
- สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับรูปแบบการจัดนิทรรศการเผยแพร่และสรุปองค์ความรู้
- แบ่งกลุ่ม เตรียมความพร้อม ในการสรุปนำเสนอเผยแพร่องค์ความรู้ในรูปแบบของกลุ่มตนเอง
- จัดบรรยากาศห้องเรียน เพื่อเตรียมเปิดห้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- ร่วมกันถาม ตอบเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้ในหน่วยร่วมกัน
- สรุปสิ่งที่ดีแล้ว สิ่งที่ต้องพัฒนา
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน :
นำเสนอความเข้าใจหลังเรียน
จัดนิทรรศการสรุปและเผยแพร่องค์ความรู้
-พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้ง Quarter
ชิ้นงาน :
- Mind Mapping การ์ตูนช่องหรือบรรยาย สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- สรุปสิ่งที่ทำดีแล้ว และสิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจ สะท้อนแง่มุมที่หลากหลาย และนำสิ่งที่เรียนรู้ไปปรับใช้จริงในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ  หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่



3 ความคิดเห็น:

  1. ไม่ระบุชื่อ31 มกราคม 2565 เวลา 23:29

    1xbet korean | best bitcoin betting sites
    1xbet korean betting sites · 메리트 카지노 주소 1xbet 1xbet 1xbet 1xbet · 1xbet 1xbet 1xbet 1xbet korean 1xbet · 1xbet 1xbet 1xbet deccasino 1xbet.

    ตอบลบ
  2. Slot Review & Demo (2021) | Casino Site | Lucky Club Live
    A few months ago, I decided to try out Bet365 slot games. I got luckyclub.live a lot of the bonuses as I was looking for a decent payout percentage.

    ตอบลบ
  3. Wynn Las Vegas - Mapyro
    Wynn 화성 출장샵 Tower 삼척 출장샵 Suite King. 3131 Las Vegas Blvd S. 포항 출장샵 The Wynn Tower Suite 나주 출장마사지 King allows you to view multiple 양주 출장샵 photos and videos of yourself sitting there in a

    ตอบลบ