เป้าหมาย (Understanding Goal)

เป้าหมายหลัก (Understanding Goal):นักเรียนเข้าใจ และตระหนักเห็นคุณค่าของวิถีพื้นถิ่น เคารพ ยอมรับความแตกต่างภายในชุมชน ตลอดจนสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข

Main



Mind Mapping (ครู)





หน่วย : วิถีบ้านเฮา

คำถามหลัก(
Big Question) : นักเรียนจะเข้าใจถึงวิถีพื้นถิ่นของชุมชน และการอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุขได้อย่างไร ?

ภูมิหลังของปัญหา : เมื่อความเจริญของเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาสู่หมู่บ้านที่เป็นชุมชนขนาดเล็ก ทำให้วิถีพื้นถิ่นความพอดี ความเรียบง่ายหายไป ผู้คนต่างเสียเวลาไปกับการดิ้นรนกระเสือกกระสนเพื่อหาเงินมาจับจ่ายใช้สอยให้ตัวเองมีทัดเทียมกับคนอื่น เพื่อให้เกิดความเท่าเทียมกันทางวัตถุสิ่งเหล่านี้ได้เปลี่ยนวิถีชีวิตคนในสังคมไทยไปโดยสิ้นเชิง ส่งผลกระทบต่อครอบครัว ชุมชน  วิถีการกิน การอยู่ รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นลดน้อยลงและเปลี่ยนแปลงไป  ดังนั้นความเข้าใจเกี่ยวกับหมู่บ้านหรือวิถีชุมชนที่ตนเองอาศัยอยู่จึงมีความจำเป็นต่อการเรียนรู้ เพื่อให้เด็กๆ เกิดความภาคภูมิใจในชุมชนท้องถิ่นที่ตนเองอาศัยอยู่  เห็นคุณค่าของทรัพยากรพื้นถิ่น สามารถอนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมประเพณีที่ดีงาม อีกทั้งดำรงตนอยู่ในความพอดี มีชีวิตที่สมดุลและพึ่งตนเองได้


ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : วิถีบ้านเฮา  ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 (Quarter 1) ปีการศึกษา 2559




สาระการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด

วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
สุขศึกษาและพลานามัย
ศิลปศึกษา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ประวัติศาสตร์
หน้าที่พลเมือง
1.สร้างฉันทะ /สร้างแรงบันดาลใจ
- การปรับตัว
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ชื่อหน่วย
- สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ออกแบบและวางแผนปฏิทินการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 8.1
-ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษาตามความสนใจ (ว 8.1 ป./1)
- วางแผนการ ศึกษาค้นคว้า  สำรวจ ตรวจสอบ โดยใช้ความคิดของตนเอง ของกลุ่ม และผู้รู้
(ว 8.1ป.1/2)
- ใช้เครื่องมือ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการศึกษาค้นคว้า ตรวจสอบ รวบรวมข้อมูล บันทึก หรือสรุปผลการเรียนรู้อย่างเหมาะสม
(ว 8.1 .1/3)
- จัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบและนำเสนอผลการตรวจสอบ แสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มรวบรวม และสรุปความรู้ได้ 
(ว 8.1 ป.1/4-6)
- นำเสนอสิ่งที่ตนสนใจอยากเรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านการเล่าหรือการทำชิ้นงาน
(ว 8.1 ป.1/7)

มาตรฐาน ส 2.1
- เคารพ ให้เกียรติ เห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น ปฏิบัติตนตามข้อตกลงในห้องเรียนและเป็นสมาชิกที่ดีของห้อง เรียน
 (ส 2.1 . 1/1)
- อธิบายและปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะ สมในการดำรงชีวิตในสังคมที่หลาก หลายและแตกต่าง และสามารถอธิบายผลที่จะเกิดขึ้นจากการกระทำใดๆของตน
(ส 2.1 . 1/2)
- ยอมรับในความ คิด และความเชื่อของของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการเลือกและกำหนดสิ่งที่อยากเรียนรู้
 (ส 2.1 . 2/3)
- เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(ส 2.1 . 2/4)
มาตรฐาน ส 2.2
อธิบายความ
สัมพันธ์ของตนเองและสมาชิกในกลุ่มในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคม
(ส 2.2 . 1/1)
-                    - รู้จักและปฏิบัติตามบทบาท สิทธิ หน้าที่ของตนและเคารพสิทธิของผู้อื่น
-                    (ส 2.2 . 1/2)
-                    - มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและแสดงความคิดเห็นต่อการเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้หรือวางแผนการเรียนรู้
(ส 2.2 . 1/3)

มาตรฐาน พ  2.1
- รู้หน้าที่ของตนเองต่อสมาชิกในกลุ่มและเพื่อนร่วมชั้นในการเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
 (พ 2.1 . 1/1)
- ให้เกียรติและบอกความสำคัญของเพื่อนต่อการเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้หรือการทำกิจกรรมต่างๆร่วมกันได้
(พ 2.1 . 1/2)









มาตรฐาน ศ 1.1
- วาดภาพเพื่อถ่าย   ทอดความรู้สึกเกี่ยว กับสิ่งที่อยากเรียนรู้
(ศ 1.1 . 1/1)
- อธิบายเกี่ยวกับความรู้สึกของตนเองต่อสิ่งที่อยากเรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ศ 1.1 . 1/2)
- มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างงานศิลปะโดยการใช้สีด้วยเทคนิคต่างๆ
(ศ 1.1 .1/3 - 4)
- จินตนาการสร้าง สรรค์ และออก แบบภาพประกอบกิจกรรมการเรียนรู้และวาดภาพ ประกอบผลงาน     (ศ 1.1.2/3)
-        สร้างสรรค์ผล งานวาดภาพสิ่งที่อยากเรียนรู้และนำ เสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ส 1.1 ป.3/6) 


มาตรฐาน ง  1.1
-          เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือในการทำ งานได้อย่างเหมาะ สมและปลอดภัย
(ง 1.1 . 1/2)
-           สามารถทำงานได้ด้วยตนเอง  แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น มีความละเอียดรอบ  คอบกระตือรือร้น  รับผิด ชอบและตรงต่อเวลา
(ง 1.1 . 1/2- 3)
มาตรฐาน ง 2.1
- มีความคิดสร้าง สรรค์สามารถนำสิ่งที่ได้ดูได้ฟัง และได้เห็นไปถ่ายทอดเป็นชิ้นงานภาพวาด รวมทั้งวางแผนล่วง หน้าในการเรียนได้
(ง 2.1 ป.2/4)

มาตรฐาน ส 4.1
- อธิบายความหมายและความสำคัญสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้           (ส 4.1 ป.4/1)
- สามารถศึกษาค้นคว้าสืบค้นความ สำคัญของสิ่งที่อยากเรียนรู้โดยใช้หลัก ฐานที่หลากหลาย              (ส 4.1 ป.5/1)
- สามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆเพื่อตอบคำ ถามเรื่องที่สนใจอยากเรียนรู้อย่างมีเหตุผล
 (ส 4.1 ป.5/2)

จุดเน้นที่ 1
- ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
- แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในครอบครัว
- เห็นความสำคัญของภาษาไทย
จุดเน้นที่ 2
- เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ                  ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์
- ปฏิบัติตนตามหลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ   พอเพียง
จุดเน้นที่ 3
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ                             ในห้องเรียน
- การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน
จุดเน้นที่ 4
- ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างของตนเองและผู้อื่น
- ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
2.บ้านเราอยู่ตรงไหน
- ชื่อ
- ที่ตั้งหมู่บ้าน/ชุมชน
- บุคคลสำคัญ
- สถานที่สำคัญ
-ครอบครัว
- บทบาทหน้าที่

มาตรฐาน ว 1.1
เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนหรือความแตกต่างของสิ่งที่พบในหมู่บ้านของตนเองและผู้อื่น
(ว 1.1 ป.1/1)
มาตรฐาน ว 1.2
อธิบายเกี่ยวกับลักษณะของสิ่งต่างๆทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตที่สังเกตพบในหมู่ บ้านแล้วนำมาจัดหมวดหมู่ตามความเข้าใจ
(ว 1.2 ป.1/1)
มาตรฐาน ว 6.1
สำรวจ ศึกษา สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางภูมิศาสตร์ของหมู่ บ้านตนเอง
(ว 6.1 ป.1/1)
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถาเกี่ยวกับข้อมูลของหมู่บ้านที่ตนอาศัยตามที่กำหนดให้หรือตามความสนใจ
(ว 8.1 ป.1/1)
-  วางแผน สังเกต สำรวจ ศึกษาค้นคว้าข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน ประวัติความเป็นมา ลักษณะของหมู่ บ้านสมัยเก่าและสมัยปัจจุบัน
(ว 8.1 ป.1/2)
- ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับหมู่บ้านได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
 (ว 8.1 ป.1/3)
- จัดกลุ่มข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้น คว้า สอบถาม สำรวจแล้วนำเสนอความเข้าใจให้ผู้อื่นทราบผ่านการเล่า บรรยาย อธิบายหรือการทำชิ้นงานเกี่ยวกับแนวคิดของงานหรือข้อมูลและแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์
(ว 8.1 ป.1/4 - 7)

มาตรฐาน ส 2.1
ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีชุมชนที่ตนอยู่อาศัยโดยการเคารพและให้เกียรติผู้อื่น (ส 2.1 . 1/1)
มาตรฐาน ส 2.2
-        อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างหน้าที่ของครอบครัว หมู่บ้านและชุมชนที่ตนอยู่อาศัย
(ส 2.2 . 1/1)
-รู้บทบาทหน้าที่ของตนเองต่อผู้อื่น สังคม รวมถึงเคารพสิทธิและหน้าที่ของผู้อื่นในการอยู่ร่วมกันในสังคม(ส 2.2 . 1/2)
-                    - มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและทำกิจกรรมต่างๆในห้องเรียนตามความสนใจและกระ บวนการประชาธิปไตย
(ส 2.2 . 1/3)
มาตรฐาน ส 5.1
-      สามารถแยกแยะ จำแนกและจัดหมวดหมู่ของสิ่งต่างๆรอบตัวทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นในหมู่บ้านของตนเอง
(ส 5.1 . 1/1)
-      สามารถระบุตำแหน่งระยะ ทางทิศและที่ ตั้งของสถานที่ต่างๆในหมู่บ้านให้ผู้อื่นเข้าใจ
(ส 5.1 . 1/2-3)
-     สร้างแผนผังแบบจำลอง
หมู่บ้านจากวัสดุที่มีในท้องถิ่นเพื่อถ่ายทอดตำแหน่งของสถานที่ต่างๆในหมู่บ้านของตน
(ส 5.1 . 1/4)
มาตรฐาน ส 5.2
อธิบายเกี่ยวกับสิ่งๆต่างในหมู่บ้านที่มีผลต่อความเป็นอยู่หรือวิถีชีวิตของคนในชุมชนและมีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน
(ส 5.2 . 1/1-3)
มาตรฐาน พ  2.1
-      รู้จัก เข้าใจ เห็นคุณค่าของครอบ ครัวตนเองและปฏิบัติตนต่อครอบ ครัวด้วยความรัก ความผูกพัน
(พ 2.1 . 1/1)
-          รู้จักและเข้าใจตนเองสามารถ อธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ตนชื่นชอบและภาคภูมิใจ
(พ 2.1 . 1/2)
-          อธิบายลักษณะของผู้คนในหมู่บ้านเกี่ยวกับ เพศ อายุ
(พ 2.1 . 1/3)
มาตรฐาน พ.4.1
- บอกลักษณะการมีสุขภาพดีจากการทำงานบ้าน 
(พ 4.1  2/1)
- อธิบายอาการและวิธีการป้องกันการเจ็บป่วย การบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานบ้าน                (พ 4.1  2/4)
- ปฏิบัติตามคำแนะนำเมื่อมีอาการเจ็บป่วยและบาดเจ็บ
(พ 4.1  2/5)
มาตรฐาน พ.5.1
- ปฏิบัติตนในการป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงานบ้าน
(พ 5.1  2/1)
มาตรฐาน ศ 1.1
-   บรรยายเกี่ยวกับ รูปร่าง รูปทรง ลักษณะ ขนาดของสิ่งต่างๆที่มีในหมู่บ้าน
(ศ 1.1 . 1/1)
-      อธิบายเกี่ยวกับ
ความรู้สึกของตนเองที่มีต่อสิ่งต่างๆในหมู่บ้าน
(ศ 1.1 . 1/2)
-   มีทักษะในการใช้
วัสดุอุปกรณ์ การทำงานเพื่อสร้าง สรรค์ชิ้นงานเกี่ยวกับหมู่บ้านของตน
  (ศ 1.1 . 1/3)
- สรรค์สร้างงานศิลปะโดยการวาดภาพ ระบายสีเพื่อถ่ายทอดความรู้สึกเกี่ยวกับหมู่บ้านของตนเอง
(ศ 1.1 . 1/4-5)

มาตรฐาน ง 2.1
-     สามารถวางแผนและลงมือทำงานอย่างเป็นลำดับขั้น ตอนเพื่อให้งานบรรลุตามเป้า หมาย
(ง 1.1 . 1/1)
-       เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือในการทำงานได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
(ง 1.1 . 1/2)
-     รู้วิธีการทำงานให้
สำเร็จอย่างมีคุณภาพด้วยความกระตือรือร้น เอาใจใส่เพื่อให้ทันเวลาที่กำหนด
(ง 1.1 . 1/3)
มาตรฐาน ง 3.1
- อธิบายสิ่งที่พบในหมู่บ้าน ประวัติความเป็นมา ลักษณะของหมู่บ้านสมัยก่อนและสมัยปัจจุบัน แผนที่จากบ้านมาโรงเรียน แผนผังและแบบจำลองหมู่บ้านให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านการเล่า บรรยาย หรือถ่ายทอดลงชิ้นงาน
(ง 3.1 . 1/1)
-เข้าใจและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆที่น่าเชื่อถือ รวมทั้งรู้จักการสืบค้นจากแหล่ง ข้อมูลที่หลากหลาย
(ง 3.1 ป.2/1)
-สามารถค้นหาข้อมูลอย่างมีขั้นตอนและนำเสนอข้อมูลในลักษณะต่างๆได้                 (ง 3.1 ป.3/1)

มาตรฐาน ส 4.1
-       อธิบายเกี่ยวกับวัน เดือน ปีและช่วงเวลาต่างๆตามปฏิทินในการศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับหมู่บ้าน และช่วงเวลาของหมู่บ้านสมัยก่อนและสมัยปัจจุบัน
(ส 4.1 ป.1/1)
-       สามารถเรียงลำดับเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในหมู่บ้านได้
(ส 4.1 ป.1/2)
-สามารถสืบค้นประวัติความเป็นมาของตนเองและครอบครัวและชุมชนที่ตนอาศัยอยู่โดยการสอบถามผู้เกี่ยวข้อง
(ส 4.1 ป.1/3)
มาตรฐาน ส 4.2
- อธิบายเกี่ยวกับความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมของหมู่บ้านหรือการดำเนินชีวิตของตนเองกับสมัยของพ่อแม่ ปู่ย่า ตายายได้ (ส 4.2 1/1)
- อธิบายผลกระทบของการเปลี่ยน  แปลงของสภาพ แวดล้อมที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตของคนในหมู่บ้าน          
 (ส4.2 1/2)            
มาตรฐาน ส 4.3
- อธิบายความ หมายของสิ่งต่างๆในหมู่บ้าน
(ส 4.3 1/1)      
อธิบายเกี่ยวกับตำแหน่งของสถานที่ที่สำคัญเช่น โรงเรียน วัดในหมู่บ้านของตนเองได้ (ส 4.3 1/2)    
-ระบุเกี่ยวกับสิ่งที่ตนภาคภูมิในในหมู่บ้านของตนเองได้  (ส 4.3 1/2)          
จุดเน้นที่ 1
- ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
- แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในครอบครัว
- เห็นความสำคัญของภาษาไทย
จุดเน้นที่ 2
- เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ                  ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์
- ปฏิบัติตนตามหลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ   พอเพียง
จุดเน้นที่ 3
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ                             ในห้องเรียน
- การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน
จุดเน้นที่ 4
- ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างของตนเองและผู้อื่น
- ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
3.วิถีและการดำเนินชีวิต
- วัฒนธรรมการแต่งกาย
- ภาษา
- ประเพณี
- อาชีพ

มาตรฐาน ว 1.1
อธิบายได้ว่า น้ำ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค เป็นปัจจัยการดำรงชีวิตและการเจริญเติบโตของคนและสามารถนำสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปประ ยุกต์ใช้กับตนเองได้
(ว 1.1 ป.2/1-2)
มาตรฐาน ว 8.1
-        ตั้งคำถามเกี่ยวกับการดำรงชีวิต ประเพณีต่างๆและศิลปะของคนในหมู่บ้านตามที่กำหนดหรือสนใจ
(ว 8.1 ป.1/1)
-          วางแผน สังเกต สำรวจ ศึกษาค้นคว้า สอบถามเกี่ยวกับการดำรง ชีวิตและประเพณีและศิลปะพื้นบ้านของคนในชุมชน
(ว 8.1 ป.1/1)
-   จัดกลุ่มข้อมูลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า สังเกต สำรวจแล้วนำเสนอผ่านภาพวาด
ข้อ ความ บอกเล่า บรรยายหรือแสดงความคิดเห็นให้ผู้อื่นเข้าใจ
 (ว 8.1 ป.1/4-7)

มาตรฐาน ส 2.1
-   ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่
ดีของครอบครัว โรงเรียน และชุมชนที่ตนอยู่อาศัยโดยการเคารพและให้เกียรติผู้อื่น                    (ส 2.1 . 1/1)
-            ยอมรับฟังความคิดเห็น ความเชื่อของผู้อื่นที่แตกต่างจากตนโดยปราศจากอคติ
(ส 2.1 . 1/2)
มาตรฐาน ส 2.2
-           บอกโครงสร้าง
บทบาทและหน้าที่ของตนเองในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของสังคม
(ส 2.2 . 1/1)
-         เข้าใจและปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของตนในครอบครัว โรงเรียนหรือชุมชนที่ตนอาศัยอยู่
(ส 2.2 . 1/2)
-มีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจในการทำกิจกรรมหรือร่วมงานประเพณีต่างๆในชุมชน
(ส 2.2 . 1/3)
มาตรฐาน ส 3.2
-เข้าใจและเห็นคุณค่าของการทำงานหรือการประกอบอาชีพคนในหมู่บ้านของตน(ส 3.2 . 1/3)
มาตรฐาน ส 5.2
-  อธิบายเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต ความเป็นอยู่หรือประเพณีต่างๆของคนในหมู่บ้าน
(ส 5.2 . 1/1)
-  สังเกต อธิบายและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของภาพแวดล้อมรอบตัวในหมู่บ้านที่ตนอยู่อาศัย
(ส 5.2 . 1/2)
-  มีส่วนในร่วมในงานประเพณีต่างๆในหมู่บ้าน
(ส 5.2 . 1/3)
มาตรฐาน พ.2.1
-      เข้าใจ เห็นคุณค่า
และปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว โรงเรียนและชุมชน
(พ 2.1  .1/1)
-อธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ตนชื่นชอบและภาคภูมิใจ
(พ 2.1  .1/2)
-          อธิบายเกี่ยวกับลักษณะ ความแตกต่างและความเหมือนของเพศและวัยของคนในหมู่บ้าน
(พ 2.1  .1/3)
มาตรฐาน พ.4.1
- บอกลักษณะการมีสุขภาพดีจากการร่วม งานประเพณีบุญต่างๆ
 (พ 4.1  .2/1)
- อธิบายอาการและวิธีการป้องกันการเจ็บป่วย การบาด เจ็บที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงาน
(พ 4.1  .2/4)
- ปฏิบัติตามคำแนะนำเมื่อมีอาการเจ็บป่วยและบาดเจ็บ
(พ 4.1  .1/3)
มาตรฐาน พ.5.1
- ปฏิบัติตนในการป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากการทำงาน
(พ 5.1  .2/1)



มาตรฐาน ศ 1.1
-         อธิบายและ
ถ่ายทอดความรู้สึกเกี่ยวกับลักษณะของการดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่นผ่านภาพวาด
(ศ 1.1  .1/1-2)
-         มีทักษะในการใช้
วัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือเพื่อสร้างสรรค์ชิ้นงานถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับวิถีชีวิตและประเพณีต่างๆในท้องถิ่นที่ตอนอยู่อาศัย
 (ศ 1.1  .1/3)
- วาดภาพระบายสีเพื่อถ่ายทอดความ รู้สึกเกี่ยวกับบทกลอนงานประเพณี
(ศ 1.1  .1/5)



มาตรฐาน ง 1.1
-     อธิบายขั้นตอนการ
ทำงานให้สำเร็จ ประณีตสวยงามและทันตามเวลาที่กำหนด
(ง 1.1 ป.1/1)
-เลือกใช้วัสดุ
อุปกรณ์ในการทำ งานได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย
(ง 1.1 ป.1/2)
-     ทำงานด้วยตนเอง
หรือร่วมกับผู้อื่นด้วยความกระตือรือร้น เอาใจใส่ อดทน รับผิดชอบเพื่อให้งานสำเร็จทันตามเวลาที่กำหนด
(ง 1.1 ป.1/2)

มาตรฐาน ส 4.1
-         อธิบายวัน เดือน ปีตามปฏิทินเพื่อบอกช่วงเวลาของประเพณีต่างๆ
(ส 4.1 1/1)   
-         เรียงลำดับช่วงเวลาของประเพณีต่างๆในหมู่บ้าน
 (ส 4.1 1/2)      
-  บอกประวัติความ
เป็นมาและความ สำคัญของประเพณีต่างๆโดยการสอบ ถามผู้รู้
(ส 4.1 1/3)      
มาตรฐาน ง 3.1
 -อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของประเพณีและศิลปะพื้นบ้านของคนอีสาน
(ง 3.1 ป.1/1)
มาตรฐาน ส 4.2
-  อธิบายลักษณะของการดำเนินชีวิตหรือประเพณีต่างๆในสมัยตนเองและสมัยพ่อแม่ ปู่ย่า ตายาย
(ส 4.1 1/1)   
-  อธิบายเกี่ยวกับ
เหตุการณ์ในอดีตที่มีผลต่อวิถีชีวิตหรือประเพณีต่างๆในชุมชน
 (ส 4.2 1/2)   
มาตรฐาน ส 4.3
อธิบายความหมายและความสำคัญของประเพณีของคนในท้องถิ่นและสามารถปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม
(ส 4.3 1/1)   
-  สามารถอธิบายเกี่ยวกับสถานที่ที่สำคัญในหมู่บ้านเช่น บ้าน วัด โรงเรียน     
(ส 4.3 1/1)   
-   มีความภาคภูมิใจ
ในท้องถิ่นที่ตนออยู่อาศัยและมีส่วนในการอนุรักษ์ศิลปะ วัฒนธรรม
(ส 4.3 1/1)   
จุดเน้นที่ 1
- ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
- แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในครอบครัว
- เห็นความสำคัญของภาษาไทย
จุดเน้นที่ 2
- เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ                  ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์
- ปฏิบัติตนตามหลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ   พอเพียง
จุดเน้นที่ 3
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ                             ในห้องเรียน
- การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน
จุดเน้นที่ 4
- ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างของตนเองและผู้อื่น
- ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง
4.อาหารตามฤดูกาล
- อาหารพื้นถิ่น
-ทรัพยากรธรรมชาติ
5.ภูมิปัญญาท้องถิ่น
6.การประกอบการ
สร้างผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น
(ของกิน ของใช้จากวัสดุพื้นถิ่น)
7.ความสัมพันธ์
- ครอบครัวในชุมชน
- ระหว่างชุมชนรอบข้าง

มาตรฐาน ว 1.2
ระบุลักษณะของทรัพยากรในหมู่บ้านและนำมาจำแนกจัดหมวดหมู่
(ว 1.2 ป.1/1)
มาตรฐาน ว 3.1
- สังเกต ระบุและอธิบายลักษณะของทรัพยากรหรือวัสดุที่มีในหมู่บ้านที่นำมาใช้ในการประดิษฐ์สิ่งของ
(ว 3.1 ป.1/1)
- จำแนกทรัพยากรหรือวัสดุที่นำมาใช้ในการประดิษฐ์สิ่งของเครื่องใช้
(ว 3.1 ป.1/2)
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับทรัพยากรหรือวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ
ในการทำน้ำยาล้างจานหรือการประดิษฐ์ของเล่นของใช้จากวัสดุที่มีในหมู่บ้าน
(ว 8.1 ป.1/1)
-วางแผนอย่างเป็นขั้นตอนในการทำน้ำยาล้างจานและการประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุที่มีในหมู่บ้าน
(ว 8.1 ป.1/2)
- ใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทำงานอย่างถูกต้องเหมาะสมและปลอดภัย
(ว 8.1 ป.1/3)
- จัดกลุ่มข้อมูลของวัสดุอุปกรณ์ ขั้นตอนในการทำน้ำยาล้างจานและการประดิษฐ์
สิ่งของจากวัสดุที่มีในหมู่บ้าน
(ว 8.1 ป.1/4)
- บันทึกสิ่งที่ตนได้เรียนรู้จากการทำน้ำยาล้างจานและการประดิษฐ์สิ่งของแล้วนำเสนอข้อมูลให้ผู้อื่นทราบผ่านการวาดภาพ บรรยายและร่วมกันแสดงความคิดเห็น แสดงความรู้สึกต่อกิจกรรมที่ได้ทำ
(ว 8.1 ป.1/4-6)
-ถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ในการทำน้ำยาล้างจาน หรือการประดิษฐ์สิ่งของให้ผู้อื่นทราบด้วยวาจา (ว 8.1 ป.1/7)
มาตรฐาน ส 2.1
-  ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว โรงเรียนและชุมชน โดยรู้จักบทบาทหน้าที่ของตนและเคารพสิทธิของผู้อื่น
(ส 2.1 . 1/1)
-  เข้าใจ เห็นค่าตนเองและสามารถอธิบายผลที่จะเกิดขึ้นจากการกระทำใดๆของตนเองและผู้อื่น
(ส 2.1 . 1/2)
มาตรฐาน ส 2.2
-รู้จักบทบาท สิทธิ
หน้าที่ของตนต่อสมาชิกในกลุ่มในฐานะที่เป็นสมาชิกส่วนหนึ่งของสังคม (ส 2.1 . 1/1-2)
-  มีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจในการเตรียมวัสดุ อุปกรณ์และลงมือทำน้ำยาล้างจานจากมะกรูดและขี้เถ้า
(ส 2.1 . 1/3)
มาตรฐาน ส 3.1
- อธิบายการอนุรักษ์หรือใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและนำไปใช้ในชีวิตจริง (ส 3.1 . 1/2)
-  อธิบายเกี่ยวกับการ
ใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างคุ้มค่าและสร้างสรรค์
(ส 3.1 . 1/3)
มาตรฐาน ส 5.1
แยกแยะทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและมนุษย์สร้างขึ้น
(ส 5.1 . 1/1)
มาตรฐาน ส 5.2
-  อธิบายทรัพยากรที่มีในหมู่บ้านที่มีผลต่อความเป็นอยู่ของคนในชุมชน
 (ส 5.2 . 1/1)
-สังเกตและเปรียบเทียบ
การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรในหมู่บ้านของตนเองและผู้อื่น
(ส 5.2 . 1/2)
-  มีส่วนร่วมในการ
จัดสรรทรัพยากรในชุมชนของตน
(ส 5.2 . 1/3)


มาตรฐาน พ.2.1
- เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง และผู้อื่นที่อยู่ร่วมกันในสังคม
(พ 2.1 . 1/1)
มาตรฐาน พ.2.1
-           ระบุสิ่งที่อาจทำให้เกิดอันตรายจากการทำงาน
(พ 2.1 . 1/1)
-อธิบายสาเหตุและการป้องกันอันตรายจากการทำงาน
(พ 2.1 . 1/2)
-      สามารถพูดบอกหรือแสดงท่าทางขอความช่วยเหลือจากผู้อื่นหากเกิดอันตรายจากการทำงาน
(พ 2.1 . 1/3)
มาตรฐาน ศ 1.1
-อธิบายความเข้าใจ
เกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ในการทำผลิตภัณฑ์และการประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุในหมู่บ้านผ่านงานศิลปะ
(ศ 1.1 . 1/1)
-        มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างงานเพื่อถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับการทำน้ำยาล้างจานและการประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุที่มีในหมู่บ้าน
(ศ 1.1 . 1/2)
-วาดภาพเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรในท้องถิ่น
(ศ 1.1 . 2/6)
มาตรฐาน ง 1.1
-       ทำงานอย่างมีเป้าหมาย เป็นขั้นตอน เพื่อให้สำเร็จลุล่วงทันตามเวลาที่กำหนด
(ง 1.1 ป.1/1)
-เลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่อง มือในการทำงานได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
(ง 1.1 ป.1/2)
-       ทำงานด้วยความกระตือรือร้น เอาใจใส่ อดทนเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
(ง 1.1 ป.1/3)
มาตรฐาน ง 3.1
อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับการทำน้ำยาล้างจานและการประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุที่มีในท้องถิ่น
(ง 3.1 ป.1/1)

มาตรฐาน ส 4.1
-  อธิบายเกี่ยวกับวัน
เดือน ปีตามปฏิทินในการคำนวณระยะเวลาการทำผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นได้
(ส 4.1 1/1
-      เรียงลำดับเหตุการณ์ในการผลิตภัณฑ์และการประดิษฐ์สิ่งของจากวัสดุในท้องถิ่น  (ส 4.1 1/2
มาตรฐาน ส 4.2
-  อธิบายความเปลี่ยน แปลงของสภาพ แวดล้อมที่มีผลต่อทรัพยากรในท้องถิ่น
(ส 4.2 1/1
-                    อธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตที่มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและทรัพยากรในปัจจุบัน
(ส 4.2 1/2
มาตรฐาน ส 4.3
-       อธิบายความ หมายและความ สำคัญของทรัพยากรในท้องถิ่น
(ส 4.3 1/2)
มีความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าของทรัพยากรในท้องถิ่นของตน
(ส 4.3 1/2)

จุดเน้นที่ 1
- ปฏิบัติตนเป็นผู้มีมารยาทไทย
- แสดงออกถึงความกตัญญูกตเวทีต่อบุคคลในครอบครัว
- เห็นความสำคัญของภาษาไทย
จุดเน้นที่ 2
- เข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับชาติ                  ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์
- ปฏิบัติตนตามหลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ   พอเพียง
จุดเน้นที่ 3
- ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ                             ในห้องเรียน
- การปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่ในฐานะสมาชิกที่ดีของครอบครัวและห้องเรียน
จุดเน้นที่ 4
- ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างของตนเองและผู้อื่น
- ยกตัวอย่างความขัดแย้งในห้องเรียนและเสนอวิธีการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
จุดเน้นที่ 5
ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง





ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ PBL (Problem  Based  Learning)

หน่วย : วิถีบ้านเฮา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ (Quarter 1)  ปีการศึกษา  2559

Week
Input
Process
Output
Outcome

1
16-20 พ.ค.
59
โจทย์ :
สร้างฉันทะ /สร้างแรงบันดาลใจ
- การปรับตัว
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
- ชื่อหน่วย

คำถาม
- ทำไมจึงได้มาพบเจอกันที่โรงเรียน ? มาอยู่ร่วมกันเพื่อทำอะไร ?
- นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้ ?                  

เครื่องมือคิด
       
-
 Round Robin 
- Card and Chart 
- Blackboard Share
- Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บริเวณรอบโรงเรียน
- คลิปวีดีโอ “หนูนากับหนูเมือง”
- การปรับตัว/เรียนรู้วิถีของพี่ป.และแนะนำเพื่อนใหม่ 3 คน
- เรียนรู้การอยู่ร่วมกันกับพี่ชั้นอื่นๆ ที่อยู่ในตึกประถมและสถานที่ภายในอาคาร  เช่น  ห้องเรียน ห้องน้ำ  ห้องสำนักงานครู  มุมต่างๆ ภายในอาคารเรียน ฯลฯ
- ครูและนักเรียนสร้างข้อตกลงร่วมกันในห้องเรียน
- เดินสำรวจรอบบริเวณโรงเรียน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “สังเกตเห็นอะไรทีเปลี่ยนแปลงไปบ้าง  รู้สึกอย่างไร  เมื่อก่อนเป็นอย่างไร ทำไมถึงเปลี่ยนไป?
- ครูให้นักเรียนดูคลิปวีดีโอ “หนูนากับหนูเมือง”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร  รู้สึกอย่างไร  แล้วหมู่บ้านหรือชุมชนที่เห็นเหมือนหรือต่างจากหมู่บ้านของเราอย่างไร?
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร เพราะเหตุใดจึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้ ?"       
- นักเรียนวาดภาพหรือเขียนสิ่งที่อยากเรียนรู้ พร้อมเหตุผลที่อยากเรียนรู้
- ครูและนักเรียนร่วมกันจัดหมวดหมู่เรื่องที่อยากเรียนรู้
- นำเสนอเรื่องที่อยากเรียนรู้
- นักเรียนร่วมกันตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้  นักเรียนจะตั้งชื่อหน่วยให้น่า สนใจ และอยากเรียนรู้อย่างไร?
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการวิถีในห้องเรียนและการอยู่ร่วมกัน
- พูดคุย ถาม-ตอบเกี่ยวกับคลิปวีดีโอที่ได้ดู
- การสร้างข้อตกลงของห้องเรียนร่วมกัน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้และชื่อหน่วย
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์

 ชิ้นงาน
- วาดภาพสิ่งที่อยากเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถปรับตัวในการเรียนรู้ใหม่  เพื่อนใหม่  สามารถพูดอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างสมเหตุสมผล
ทักษะ
 :
- ทักษะชีวิต
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์
-
 ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น

คุณลักษณะ
:
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน


2

23 -27 พ.ค.59
โจทย์ : 
สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้

คำถาม
นักเรียนรู้อะไรบ้างและอยากเรียนรู้อะไรเกี่ยวกับหน่วย “วิถีบ้านเฮา ” ?

เครื่องมือคิด
-
 Brainstorms 
- Think Pair Share
-  Wall Thinking 
- Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- พนักงานโรงเรียน (คุณป้า คุณลุง)

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บทสัมภาษณ์
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “บ้านเกิดแต่ละคนอยู่ที่ไหน ? ทำไมต้องมาอยู่ที่นี้ ?
- นักเรียนเล่าเกี่ยวกับหมู่บ้านของตนเอง
/เล่าเกี่ยวกับ น้อง เพื่อน พี่ ในโรงเรียนที่มาจากหมู่บ้านเดียวกัน
- นักเรียนสัมภาษณ์คุณครู คุณป้า คุณลุง พนักงานในโรงเรียนเกี่ยวกับบ้านเกิด ชุมชนที่มา
 - นักเรียนตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- เขียนและวาดภาพสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วสิ่งที่อยากเรียนรู้
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์

ชิ้นงาน
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วสิ่งที่อยากเรียนรู้
- วาดภาพ Mind Mapping ก่อนเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ 
เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้สามารถตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองรู้ /อยากเรียนรู้ ได้อย่างน่าสนใจ

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
:
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน


3
30 พ.ค. –
3 มิ.ย.59

โจทย์ :
ออกแบบและวางแผนปฏิทินการเรียนรู้

คำถาม
นักเรียนจะออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ใน Quarter นี้อย่างไร ?

เครื่องมือคิด
-  Brainstorms
- Blackboard Share
- Think Pair Share
- Show and Share
-  Wall Thinking

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
บรรยากาศภายในชั้นเรียน




- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมาร่วมกัน
- ครูและนักเรียนร่วมกันออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ใน Q.1/59
- นำเสนอปฏิทินการเรียนรู้ตลอด 10 สัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการวางแผนปฏิทินการเรียนรู้
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์


ชิ้นงาน
- ปฏิทินการเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
สามารถออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ของตนเองร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีขั้นตอน และสร้างสรรค์

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน


4
6-10 มิ..
59
โจทย์ : 
 บ้านเราอยู่ตรงไหน

คำถาม
- หมู่บ้านของนักเรียนมีชื่อว่าอย่างไร  ทำไมถึงตั้งชื่อนี้ ?
- นักเรียนคิดว่าหมู่บ้านของตนเองกับเพื่อนเหมือนหรือต่างกันอย่างไร?
- หมู่บ้านของเราเกิดขึ้นมาได้อย่างไร?

เครื่องมือคิด
-
 Brainstorms 
- Round Robin
- Show and Share
-  Wall Thinking 

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ข้อมูล Google Maps (Earth)
- ทีวี
- ครูเปิด Google Maps (Earth) และให้นักเรียนดูและช่วยกันบอกชื่อหมู่บ้าน จังหวัดที่ตนเองอยู่
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “หมู่บ้านของนักเรียนชื่ออะไร ทำไมถึงตั้งชื่อนี้ ? จากบ้านมาโรงเรียนเป็นระยะทางเท่าไหร่ เดินทางมาอย่างไร ใครมาส่ง ?
- นักเรียนศึกษาข้อมูล จากการสอบถามผู้ปกครอง ผู้รู้ในหมู่บ้านตนเองเช่น จำนวนครอบครัว อาชีพ สถานที่ในชุมชน  ฯลฯ
 - นักเรียนแบ่งกลุ่มตามหมู่บ้านที่ตนเองอาศัยร่วมกันพูดคุยถึง ที่มาของชื่อหมู่บ้าน เรื่องราวเกี่ยวกับหมู่บ้าน  จุดเด่นหรือสัญลักษณ์ที่บ่งบอกว่าเป็นหมู่บ้านของตนเองที่สามารถจดจำได้ง่าย
- แต่ละกลุ่มนำเสนอหมู่บ้านของกลุ่มตนเอง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับหมู่บ้านที่ตนเองอยู่ เช่น จำนวนครอบครัว อาชีพ สถานที่ในชุมชน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชื่อหมู่บ้านของตนเองร่วมกัน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ภาพการ์ตูนช่องหมู่บ้านเรา
- วาดภาพแผนที่บ้านของตนเอง
-ประดิษฐ์บ้านจากวัสดุต่างๆ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอธิบายที่ตั้งของหมู่บ้าน ร่วมทั้งสามารถ รวมทั้งความเป็นมาของหมู่บ้านตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจได้

ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ
:
- เคารพ สิทธิ  หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน

5
13-17..
59
โจทย์ : 
วิถีและการดำเนินชีวิต

คำถาม
นักเรียนคิดว่าแต่ละหมู่บ้านมีการดำเนินชีวิตที่เหมือนหรือต่างกันอย่างไร?

เครื่องมือคิด
-
 Brainstorms 
- Key Question
- Think Pair Share
- Show and Share
-  Wall Thinking 

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน

สื่อ / แหล่งเรียนรู้

- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- คลิปวีดีโอ “รวมเพลงอีสานบ้านเฮา”


- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเตรียมฉลาก (วิถีการกิน วิถีการทำนา/ไร่ การหาปลา การเลี้ยงสัตว์ การปลูกพืชผัก ฯลฯ) เตรียมละครสื่อถึงวิถีและการดำเนินชีวิต
- ครูให้นักเรียนดูคลิปวีดีโอ “รวมเพลงอีสานบ้านเฮา”
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนสังเกตเห็นอะไร รู้สึกอย่างไร อะไรที่เห็นเหมือนกับในหมู่บ้านเรามีบ้าง แล้วคิดว่าทำไมถึงเหมือนหรือต่างกันอย่างไร? ในบทเพลงสื่อสารอะไรกับเรา เข้าใจว่าอย่างไร?
- แบ่งกลุ่ม 5 กลุ่มเตรียมละครสื่อถึงวิถีและการดำเนินชีวิต
- นำเสนอละครของแต่ละกลุ่ม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ภาระงาน
- สอบถามข้อมูลจากผู้ปกครอง ผู้รู้ในหมู่บ้านของตนเองเกี่ยวกับวิถีและการดำเนินชีวิตของคนในหมู่บ้านที่ตนเองอาศัยอยู่  
- เตรียมนำเสนอละครวิถีและการดำเนินชีวิต
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์

ชิ้นงาน
- นิทานช่องวิถีชีวิต
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
เข้าใจวิถีและการดำเนินชีวิตของคนในหมู่บ้าน ชุมชนที่ตนเองอยู่ เคารพและยอมรับในความแตกต่างของคนในหมู่บ้านได้

ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
:
- เคารพ สิทธิ  หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน

6
20-24มิ..
59
โจทย์ : 
ของกินตามฤดูกาล

คำถาม
- นักเรียนมีวิธีเลือกกินอาหาร ที่ทำให้มีสุขภาพดีได้อย่างไร?
- นักเรียนคิดว่าอาหารพื้นถิ่นของแต่ละหมู่บ้าน เหมือนหรือต่างกันอย่างไร?

เครื่องมือคิด
-
 Brainstorms 
- Blackboard  Share
- Flow Chart
- Mind Mapping
- Show and Share
-  Wall Thinking 

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บริเวณพื้นที่รอบโรงเรียน
- คลิปวีดีโอ “หลังคาอีสาน”
- วัตถุดิบ/อุปกรณ์ในการทำอาหาร
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนเดินสำรวจรอบบริเวณโรงเรียน เพื่อดูเกี่ยวกับพืชผักผลไม้ สัตว์ต่างๆ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนสังเกตเห็นพืชผักชนิดใดบ้าง ในหมู่บ้านของเรามีผักอะไรบ้าง  สามารถนำไปทำอะไรได้บ้าง?
- ครูเปิดคลิปวีดีโอ “หลังคาอีสาน” ให้นักเรียนได้ดู
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “สิ่งที่เราสังเกตเห็น ที่หมู่บ้านของเราเหมือนหรือต่างกันอย่างไร ทำไมฤดูนี้ถึงมีไข่มดแดง ผักหวาน เห็ดฯลฯ ?
- แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่ม จับฉลากเลือกวัตถุดิบในการประกอบอาหารพื้นถิ่น เช่น ไข่มดแดง ผักหวาน เห็ด จิ้งหรีด หอย ฯลฯ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มจัดเตรียมอุปกรณ์สำหรับประกอบเมนูอาหารของกลุ่ม
- แต่ละกลุ่มร่วมกันประกอบอาหารและนำเสนอกระบวนการ ขั้นตอนการทำอาหาร
- เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์






ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูจากคลิปวีดีโอ/จากการเดินสำรวจ
- จัดเตรียมวัตถุดิบ/อุปกรณ์ในการทำอาหาร
 - พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอาหารที่ทำร่วมกัน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์

ชิ้นงาน
- ประกอบอาหาร
- วาดภาพและเขียนขั้นตอนการทำอาหาร
- ฤดูกาลกับอาหาร
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับแนะนำของกินตามฤดูกาลที่มีในพื้นถิ่นและสามารถนำมาทำอาหารง่ายๆ ได้

ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
:
- เคารพ สิทธิ  หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน

7
27มิ..
-
1 ก.ค.
59
โจทย์ : 
ชีวิต งานและภูมิปัญญา

คำถาม
- ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตประจำวันของเราอย่างไร?
- เราจะสืบสานและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร?

เครื่องมือคิด
-
 Brainstorms 
- Blackboard  Share
- Key Question
- Show and Share
-  Wall Thinking 

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
- คุณครูอ้น/คุณครูนฤมล
สื่อ / แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บ้านคุณครูอ้น
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- นักเรียนได้เล่าถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นของตนเองจาการไปสอบถามข้อมูลจากผู้รู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าภูมิปัญญาท้องถิ่นคืออะไร เป็นอย่างไร เราจะสืบสานและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างไร?
- ครูและนักเรียนไปทัศนศึกษาบ้านครูอ้น (บ้านบุตาวงษ์)เพื่อเรียนรู้ ชีวิต งานและภูมิปัญญา การเคารพธรรมชาติ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างจากการไปทัศนศึกษา เราจะนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่เราได้เรียนรู้อย่างไร?
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการไปทัศนศึกษา
- พูดคุยเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นของหมู่บ้านตนเอง

ชิ้นงาน
- บันทึกเล่มเล็ก
- ประดิษฐ์พวงกุญแจ โมบาย จากวัสดุธรรมชาติ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
เข้าใจและอธิบายเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ของตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ
:
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
:
- เคารพ สิทธิ  หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน


8
4-8 ก.ค.
59
โจทย์ : 
การประกอบการ
สร้างผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่น
(ของกิน ของใช้จากวัสดุพื้นถิ่น)

คำถาม
เราจะนำวัสดุพื้นถิ่นมาสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ได้อย่างไร?

เครื่องมือคิด
-
 Brainstorms 
- Blackboard  Share
- Flow Chart
- Show and Share
-  Wall Thinking 

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- นักเรียนได้เล่าเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นพร้อมกับนำตัวอย่างมาให้เพื่อน ครูได้สังเกตและฟัง
- นักเรียนแต่ละคนตั้งคำถามสิ่งที่อยากรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เพื่อนนำเสนอ
- แบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม ร่วมกันออกแบบผลิตภัณฑ์หมู่บ้านของตนเอง
- นำเสนอผลิตภัณฑ์ของแต่ละกลุ่ม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์


ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุพื้นถิ่นของ
- จัดเตรียมอุปกรณ์ในการสร้างผลิตภัณฑ์
-พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์

ชิ้นงาน
- ตัวผลิตภัณฑ์
- วาดภาพและเขียนกระบวนการขั้นตอนการสร้างผลิตภัณฑ์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์จากวัสดุพื้นถิ่นของตนเองได้

ทักษะ:
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
:
- เคารพ สิทธิ  หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน


9
11- 15ก.ค.
59
โจทย์
ความสัมพันธ์
- ครอบครัวในชุมชน
- ระหว่างชุมชนรอบข้าง

คำถาม
- จะเกิดอะไรขึ้นถ้าคนในชุมชนที่อาศัยอยู่ไม่มีปฏิสัมพันธ์กัน
?
- เราจะอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นอย่างมีความสุขได้อย่างไร?

เครื่องมือคิด
-  Brainstorms 
- Round Robin 
- Blackboard  Share
- Key Question
- Show and Share
-  Wall Thinking 

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน

สื่อ/แหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ข่าว
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเล่าข่าวเหตุการณ์จริงเกี่ยวกับชุมชน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “จะเกิดอะไรขึ้นถ้าคนในชุมชนที่อาศัยอยู่ไม่มีปฏิสัมพันธ์กัน
- แบ่งกลุ่ม 5 กลุ่ม จับฉลากจำลองเหตุการณ์ /สถานการณ์ในปัจจุบัน
- แต่ละกลุ่มนำเสนอสถานการณ์ ที่ได้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นี้ขึ้น เราจะมีวิธีป้องกันอย่างไร? ? เราจะอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นอย่างมีความสุขได้อย่างไร?
- สรุปความเข้าใจรายสัปดาห์
                                                      
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ฟังและสิ่งที่ได้ทำ
- เตรียมนำเสนองานกลุ่มที่จับฉลากได้
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์

ชิ้นงาน
- นิทานชุมชนอมยิ้ม
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ความรู้
เข้าใจ เคารพสิทธิและยอมรับความแตกต่างของคนในชุมชนที่ตนอยู่ได้

ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
:
- เคารพ สิทธิ  หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกัน

10
18-22 ก.ค.
59

โจทย์ :
ชุมชนมุมมองใหม่

คำถาม
นักเรียนคิดว่าอีก 5 ปี หมู่บ้าน /ชุมชนของเราจะเป็นอย่างไร?

เครื่องมือคิด  
-  Round Robin 
 - Show and Share  
 - Wall Thinking

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่า
อีก 5 ปี หมู่บ้าน /ชุมชนของเราจะเป็นอย่างไร?
ชุมชนในอนาคตตามมุมมองของตนเอง
- นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน :
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชุมชนมุมมองใหม่
ชิ้นงาน :
- วาดภาพชุมชนมุมมองใหม่
 - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
เข้าใจและยอมรับกับสิ่งที่เป็นอยู่ในหมู่บ้าน /ชุมชนที่ตนอาศัยอยู่ สามารถปรับตัวในการใช้ชีวิต ประจำวันได้อย่างมีความ สุข  
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
 ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
 ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ  หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่

11
25-29ก.ค.
59
โจทย์ :
สรุปองค์ความรู้
- นิทรรศการ
- ละคร

คำถาม
  นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้?
- นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้ หน่วยการเรียนรู้Quarter นี้ ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร?
- นักเรียนทำ สิ่งใดได้ดี และสิ่งที่อยากพัฒนาต่อ เพราะเหตุใด?

เครื่องมือคิด  
- Brainstorms
-  Round Robin
- Show and Share
- Mind Mapping
- Wall Thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ ตลอด Quarter ที่ผ่านมา
- สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับรูปแบบการจัดนิทรรศการเผยแพร่และสรุปองค์ความรู้
- แบ่งกลุ่ม เตรียมความพร้อม ในการสรุปนำเสนอเผยแพร่องค์ความรู้ในรูปแบบของกลุ่มตนเอง
- จัดบรรยากาศห้องเรียน เพื่อเตรียมเปิดห้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- ร่วมกันถาม ตอบเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้ในหน่วยร่วมกัน
- สรุปสิ่งที่ดีแล้ว สิ่งที่ต้องพัฒนา
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน :
นำเสนอความเข้าใจหลังเรียน
จัดนิทรรศการสรุปและเผยแพร่องค์ความรู้
-พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้ง Quarter
ชิ้นงาน :
- Mind Mapping การ์ตูนช่องหรือบรรยาย สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- สรุปสิ่งที่ทำดีแล้ว และสิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้ :
นักเรียนเข้าใจและสามารถสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจ สะท้อนแง่มุมที่หลากหลาย และนำสิ่งที่เรียนรู้ไปปรับใช้จริงในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิดสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ  หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
  - มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
  - กระตือรือร้นในการเรียนรู้
  - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่